พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548

พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบพ.ศ. 2548 เป็นพระราชบัญญัติที่ใช้บังคับเกี่ยวกับการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transport) ซึ่งการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบหมายความว่า การรับขนของโดยมีรูปแบบการขนส่งที่แตกต่างกันตั้งแต่สองรูปแบบขึ้นไปภายใต้สัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบฉบับเดียว โดยขนส่งจากสถานที่ซึ่งประกอบการขนส่งต่อเนื่องได้รับมอบของในประเทศหนึ่งไปยังสถานที่ซึ่งกำหนดให้เป็นสถานที่ส่งมอบของในอีกประเทศหนึ่ง เช่น นาย ก. ตกลงขนส่งสินค้าให้กับนาย ข. ซึ่งนาย ข. ขนส่งสินค้าจากประเทศไทย ไปยังประเทศญี่ปุ่น การขนส่งต้องมีการขนส่งสองรูปแบบ คือต้องขนส่งโดยการขนส่งทางบกและขนส่งทางเรือหรือทางอากาศ จึงเป็นการขนส่งสองรูปแบบขึ้นไป และขนส่งโดยสัญญาฉบับเดียว(ใบตราส่งสินค้า Multimodal Transport) จึงถือเป็นการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
ทั้งนี้ ประโยชน์ในการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบนั้น เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ระยะเวลาในการขนส่งสินค้าที่รวดเร็ว และเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รูปแบบของการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศได้พัฒนาไปจากเดิมที่มีลักษณะเป็นการให้บริการขนส่งสินค้าจากท่าเรือถึงท่าเรือ หรือจากท่าอากาศยานถึงท่าอากาศยานจนสามารถขยายบริการเป็นลักษณะจากจุดรับมอบสินค้าที่ต้นทางจนถึงจุดส่งมอบสินค้าที่ปลายทางมีรูปแบบหรือยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งมากกว่าหนึ่งรูปแบบหรือหนึ่งประเภท ภายใต้สัญญาขนส่งเพียงฉบับเดียว และเพื่อให้สามารถอำนวยความสะดวกแก่การดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศที่มีการแข่งขันสูง

พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548
เป็นบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวกับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศที่มีรูปแบบการขนส่งตั้งแต่ 2 รูปแบบขึ้นไป (Multimodal Transport) โดยแบ่งเป็น 4 หมวดดังนี้
หมวดที่ 1 สัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ( มาตรา 7-38 ) ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 บททั่วไป ( มาตรา 7-15 )
กล่าวถึงลักษณะและข้อกำหนดของสัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ เช่น ข้อกำหนดในสัญญานั้น หากเป็นการลดหน้าที่หรือความรับผิดของผู้ขนส่งต่อเนื่องหรือทำให้เสื่อมสิทธิของผู้ตราส่งหรือผู้รับตราส่ง ขอกำหนดนั้นตกเป็นโมฆะ แต่ข้อกำหนดอื่นในสัญญาสมบูรณ์ดังเดิม
ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องจะต้องออกใบตราส่งต่อเนื่องให้แก่ผู้ตราส่งเมื่อได้รับมอบของ ซึ่งอาจเป็นชนิดโอนหรือห้ามโอนให้กันก็ได้ โดยใบตราส่งต่อเนื่องจะต้องแสดงรายการตามที่กฎหมายกำหนด
ส่วนที่ 2 หน้าที่และความรับผิดของผู้ตราส่ง ( มาตรา 16-19 )
บัญญัติเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดของผู้ตราส่งว่า เมื่อผู้ขนส่งต่อเนื่องได้รับมอบของแล้ว ให้ถือว่าผู้ตราส่งรับรองความถูกต้องสภาพแห่งของ เครื่องหมาย เลขหมาย น้ำหนัก ปริมาณ และลักษณะอันตรายแห่งของนั้น ตามที่ได้แจ้งไว้แก่ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง หากแจ้งข้อความไม่ถูกต้อง และเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ตราส่งจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
ส่วนที่ 3 หน้าที่และความรับผิดของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง ( มาตรา 20-27 )
บัญญัติเกี่ยวหน้าที่และความรับผิดของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง ว่าต้องรับผิดเพื่อความเสียหาย สูญหาย หรือส่งมอบชักช้า เว้นแต่จะเข้าขอยกเว้นของกฎหมาย
ส่วนที่ 4 ข้อจำกัดความรับผิดของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง และการคิดค่าเสียหาย ( มาตรา 28-36 )
บัญญัติให้จำกัดความรับผิดของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องไว้ ว่าไม่เกินเท่าใดแล้วแต่กรณี
ส่วนที่ 5 การใช้สิทธิเรียกร้อง มาตรา (37-38)
บัญญัติเกี่ยวกับการใช้สิทธิเรียกร้องและอายุความ ต่อผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง ลูกจ้าง ตัวแทน หรือบุคคลอื่นที่ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องได้ใช้บริการการปฏิบัติตามสัญญาขนส่งต่อเนื่อง จากมูลกรณีสัญญาขนส่งต่อเนื่องหรือละเมิด
หมวดที่ 2 การควบคุมการประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ( มาตรา 39-64 )
ผู้ที่จะประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ จะทำตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด เช่น
 ต้องเป็นบริษัทจำกัด หรือ บริษัทมหาชนจำกัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและมีสำนักงานอยู่ในไทย
 ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องที่ได้จดทะเบียนในต่างประเทศที่ประเทศไทยได้รับรองโดยสนธิสัญญาหรือความตกลงระหว่างประเทศที่ได้จดทะเบียนต่อนายทะเบียนแล้ว
 ผู้ประกอบการขนส่งหรือขนส่งต่อเนื่องในต่างประเทศที่ได้ตั้งตัวแทน
หมวดที่ 3 การระงับข้อพิพาท ( มาตรา 65-69 )
บัญญัติเกี่ยวกับเขตอำนาจศาลของประเทศใดมีอำนาจในการพิจารณาคดี เช่น คู่สัญญาอาจตกลงให้ศาลในประเทศใดประเทศหนึ่งที่มีเขตอำนาจในการพิจารณาคดีแพ่ง จากสัญญาขนส่งต่อเนื่องหรือละเมิดตามกฎหมายของประเทศนั้น เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี โดยระบุไว้ในใบตราส่งต่อเนื่องหรือในสัญญาก็ได้
หมวดที่ 4 บทกำหนดโทษ ( มาตรา 70-78 )
บัญญัติเกี่ยวกับบทลงโทษของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องที่ไม่ได้จดทะเบียนหรือฝ่าฝืนคำสั่งเพิกถอนใบทะเบียน หรือไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เข้าตรวจสอบกิจการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ

You can leave a response, or trackback from your own site.

18 Responses to “พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548”

  1. billy says:

    redistributed@armadillo.detonated” rel=”nofollow”>.…

    ñïñ çà èíôó!…

  2. Willie says:

    amicably@rioting.gunpowder” rel=”nofollow”>.…

    áëàãîäàðåí!!…

  3. kyle says:

    astronomically@straddled.examiner” rel=”nofollow”>.…

    thank you!!…

  4. Maurice says:

    vaughn@mahzeers.physically” rel=”nofollow”>.…

    áëàãîäàðþ!!…

  5. franklin says:

    nilsson@kosher.allusion” rel=”nofollow”>.…

    ñïñ….

  6. maurice says:

    myers@hopscotch.randy” rel=”nofollow”>.…

    tnx for info….

  7. Don says:

    streaked@biopsy.assertions” rel=”nofollow”>.…

    ñïñ….

  8. adrian says:

    bud@dumping.inadequacy” rel=”nofollow”>.…

    good….

  9. elmer says:

    between@shanns.prefecture” rel=”nofollow”>.…

    áëàãîäàðñòâóþ!…

  10. Clifford says:

    discriminatory@aiee.proves” rel=”nofollow”>.…

    ñýíêñ çà èíôó!!…

  11. พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 | E says:

    Fast Speed Proxies…

    I found a great……

  12. พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 | E says:

    Twitter Proxy…

    I found a great……

  13. พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 | E says:

    Proxies Buying…

    I found a great……

  14. พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 | E says:

    Buy Private Proxies…

    I found a great……

  15. พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 | E says:

    Usa Private Proxy…

    I found a great……

  16. พระราชบัญญัติขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 | E says:

    Where To Buy Proxies…

    I found a great……

Leave a Reply